วันพุธ, มกราคม 15, 2025
คณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรที่เปิดทำการเรียนการสอนในคณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ ระดับปริญญาตรี มีจำนวนทั้งหมด 12 หลักสูตร รายละเอียดแผนการจัดการเรียนการสอนของแต่ละหลักสูตรมีรายละเอียด ดังนี้

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565  เมื่อวันที่  26 มิถุนายน  2565

  • ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญทางการสอนปฐมวัยศึกษาวิจัย ใฝ่รู้ เป็นคนดี นำชุมชน พัฒนาท้องถิ่น

ความสำคัญของหลักสูตร
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เพื่อผลิตบัณฑิตที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู และการจัดการศึกษาปฐมวัย เมื่อปีการศึกษา 2548 ในช่วงที่ผ่านมาสภาพเหตุการณ์ต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และส่งผลกระทบโดยตรงต่อกระบวนการผลิตและพัฒนาบัณฑิตสาขาการศึกษาปฐมวัย เนื่องจาก  การพัฒนาปฐมวัย เป็นเรื่องที่มีความสําคัญเป็นอย่างมากในการเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาคนไทยที่มีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่ออนาคตของประเทศชาติ เป็นประชากรในอนาคตที่จะพัฒนาประเทศในอีก 20 ปีข้างหน้า การกําหนดทิศทางการ พัฒนาทุนมนุษย์ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) จึงมีความหมายและความสําคัญในการที่จะนํามาพิจารณาเพื่อใช้ในการพัฒนาให้เด็กปฐมวัยในวันนี้ได้มีต้นทุนและศักยภาพตามที่ประเทศต้องการ เพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยจังได้ปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ระดับปริญญาตรี 4 ปี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566) เพื่อพัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างมืออาชีพ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมซึ่งจะเป็นกำลังของชาติต่อไป

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร  เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ
2.  มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
3.  มีทักษะชีวิต สามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจบัน และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
4.  มีความเป็นนวัตกรปฐมวัย สามารถนำความรู้ด้านวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ให้สังคม ชุมชนและท้องถิ่น

  • หลักสูตร 4 ปี
    แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500119

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

1071108

การศึกษาปฐมวัย

3(2-2-5)

1071109

สมองกับการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์(บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1071112

การพัฒนาสุขภาวะและความปลอดภัยสำหรับเด็กปฐมวัย   

3(2-2-5)

1071408

การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1072316

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี 

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

21  หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1011114

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1072317

การจัดกิจกรรมทักษะความฉลาดทางอารมณ์และสังคม สำหรับเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

1072105

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1011301

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1073207

การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

1073503

ครอบครัว ชุมชน และสังคมในการจัดการศึกษาปฐมวัย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1073318

การจัดประสบการณการเรียนรูแบบบูรณาการสําหรับเด็กอายุ 3-6 ปี

3(2-2-5)

1073602

การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

1073705

การจัดและบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาบังคับ

1074301

ภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย 

3(2-2-5)

1074407

การต่อยอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรม

3(2-2-5)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

12 หน่วยกิต

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565  เมื่อวันที่  26 มิถุนายน  2565

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตครูดีที่มีคุณภาพสูงในยุค 4.0 ให้เป็นครูที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ที่เชื่อว่าสมองของมนุษย์ทุกคนพัฒนาได้ขึ้นอยู่กับอัตราการเรียนรู้ ความสามารถและสติปัญญาเป็นเรื่องของพรแสวง สามารถสร้างสรรค์ให้ห้องเรียนมีความน่าสนใจ ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (Active Learning) แสวงหาความรู้ใหม่และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนได้ เข้าใจสถานการณ์สังคมและชุมชน และมีจิตวิญญาณความ

ความสำคัญของหลักสูตร 
ปัจจุบันอาชีพครูถือว่าสำคัญยิ่ง เพราะครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญมั่นคงให้ก้าวทันต่อสถานการณ์ หลักสูตรครุศาตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา เป็นสาขาหลักที่ตรงกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับประถมศึกษา การจัดการศึกษาในหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาบัณฑิตที่มีความสามารถและมีสมรรถภาพของการเป็นครูประถมศึกษาที่มีคุณลักษณะสำคัญของการเป็นครูดีในยุค 4.0 ดังนั้นบัณฑิตของหลักสูตรจะเป็นกำลังสำคัญและมีส่วนร่วมในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศต่อไป

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 
เพื่อผลิตครูประถมศึกษาให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ให้มีคุณสมบัติและคุณลักษณะของความเป็นครูดี ยุค 4.0 ในการสร้างการเรียนรู้เพื่อให้ได้พลเมืองที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ดังต่อไปนี้ 
1) ด้านความรู้ความคิด มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเนื้อหาวิชากาประถมศึกษา การพัฒนา  หลักสูตร การวิจัยทางการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี
2) ด้านทักษะความสามารถ มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาทักษะการออกแบบและคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัด การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทักษะประสบการณ์และการสร้างองค์ความรู้ ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ  
3) ด้านคุณลักษณะ มีจิตวิญญาณและคุณธรรมจริยธรรม ความเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต และภาวะผู้นำ

  • หลักสูตร 4 ปี
    แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500119

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

1021103

สังคมศึกษาสำหรับครูประถมศึกษา

3(2-2-5)

รวม

20  หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

   รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1021102

คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา

3(2-2-5)

1021101

ภาษาไทยสำหรับครูประถมศึกษา

3(2-2-5)

1021104

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับครูประถมศึกษา

3(2-2-5)

1021105

ภาษาอังกฤษสำหรับครูประถมศึกษา

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(เลือก)

4002104

การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1022204

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

1022209

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1022210

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

1022208

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครูบังคับ

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1022206

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

1023233

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครูบังคับ

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1024201

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้การงานอาชีพในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

1024202

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ศิลปะในระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาบังคับ

1014108

การประถมศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

12 หน่วยกิต

 

 

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565  เมื่อวันที่  26 มิถุนายน  2565

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตเพื่อให้มีความรู้ในด้านเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ ศาสตร์การสอน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อุดมการณ์และจิตวิญญาณของวิชาชีพครู มีความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะขั้นสูงในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคม สำนึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู มีความสามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ มีโลกทัศน์ที่กว้าง ก้าวทันเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง

 ความสำคัญของหลักสูตร

เพื่อเป็นการสร้างครูและบุคลากรทางการศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ก่อนประจำการพัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับศาสตร์สาขาอื่น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 

เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้

1.  มีความรู้ในเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์อย่างลึกซึ้ง และธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์รวมทั้งมีทักษะการสอน และถ่ายทอดเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ทุกระดับการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ และนอกระบบ
2.  มีความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้
3.  มีอุดมการณ์และจิตวิญญาณของความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคมและสำนึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู
4.  มีความสามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและประเทศชาติ
5.  มีโลกทัศน์ที่กว้าง ก้าวทันเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมืองและสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้

3.1.4 แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา

 ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4091203

หลักการคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

4091403

แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ ฯ (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4091404

แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2

3(2-2-5)

4091113

ความน่าจะเป็นและสถิติ

3(2-2-5)

4091701

เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4094201

ทฤษฎีจำนวน

3(2-2-5)

4092502

เรขาคณิตเบื้องต้น

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก)

4000118

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1011114

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

4092607

พีชคณิตเชิงเส้น

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

20  หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

4093405

การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์

3(2-2-5)

4093103

ทฤษฎีสมการและสมการเชิงฟังก์ชันเบื้องต้น

3(2-2-5)

4093703

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับการศึกษาภาคบังคับ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

4093704

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

3(2-2-5)

4093705

ภาษาอังกฤษสำหรับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์

3(2-2-5)

4093901

การวิจัยทางคณิตศาสตรศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

19 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

หมวดวิชาเลือกเสรี

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

12 หน่วยกิต

 

ลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาระดับปริญญาตรี ปี (หลักสูตรปรับปรุง พ.. 2566)
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565  เมื่อวันที่  26 มิถุนายน  2565ปรัชญา  ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร 
มุ่งเน้นพัฒนาบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์ ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะสู่ศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อประกอบวิชาชีพ พัฒนาสังคมและชุมชน รู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาปรับใช้ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม

ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ  รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย  มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน  ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี  มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งคอมพิวเตอร์ศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ ตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร   เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้ 
1.  มีความรู้ มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับสถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่มีความเจริญอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัล ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่เน้นการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล(Digital Literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ความฉลาดรู้สื่อ (Media Literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้ (Learning how to Learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2.  มีความอดทน ใจกว้าง และมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการทำงานร่วมกันกับผู้เรียนและผู้ร่วมงานทุกกลุ่ม
3.  มีความรอบรู้และมีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่
4.  ส่งเสริมการคิดแก้ไขปัญหา และข้อโต้แย้งโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมและปฏิบัติได้
5.  มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการ วิชาชีพ และสังคมอย่างมีเหตุผลที่สมเหตุสมผล โดยบูรณาการศาสตร์แบบสหวิทยาการและพหุวิทยาการเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
6.  มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร์ทั้งหลาย และมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
7.  มีทักษะการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ วิทยาการคำนวณ (Coding) เพื่อการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยได้อย่างเหมาะสม
8.  มีความสามารถถ่ายทอด บูรณาการ แสวงหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  • แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500119

ภาษาไทยเพื่อการสืบค้นและการสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4091615

คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์       

3(2-2-5)

4121501

กฎหมายและจรรยาบรรณทางคอมพิวเตอร์   

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  1  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป- มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – คณิตวิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011114

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

4121503

ขั้นตอนวิธีและการเขียนโปรแกรม

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  1

 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – มนุษย์ฯ (บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4122211

การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นสูง

3(2-2-5)

4122708

สถาปัตยกรรมและการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์     

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 2  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

ศึกษาทั่วไป – คณิตวิทย์ฯ  (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1017201

 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

4122212

ระบบการจัดการฐานข้อมูล

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3

รวม

20 หน่วยกิต

 

 

ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1

 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

 

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

4123112

วิทยาการคำนวณ      

3(2-2-5)

4123514

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ     

3(2-2-5)

4123666

เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา  

3(2-2-5)

4123733

การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์ เคลื่อนที่  

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาชีพครู

1011301

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

4123410

ระบบสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อการศึกษา  

3(2-2-5)

4123411

วิทยาการการจัดการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์   

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

()

วิชาบังคับ

4124120

วิทยาการก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์   

3(2-2-5)

4124934

วิจัยและพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์    

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxx

xxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

12 หน่วยกิต


สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีมติอนุมัติ ในการประชุมครั้งที่ 4/2565  เมื่อวันที่ 29  พฤษภาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย          :   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ      :   Bachelor of Education Program in Social Studies

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย      :   ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :   Bachelor of Education (Social Studies)
ชื่อย่อภาษาไทย        :   ค.บ.(สังคมศึกษา)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ   :   B.Ed.(Social Studies)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร          ไม่น้อยกว่า  139  หน่วยกิต

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร 
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีจิตสำนึกในความเป็นไทย และรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา

ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัย และศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจ และด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  บัณฑิตครูสังคมศึกษามีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูสังคมศึกษาที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2.  มีความรู้ความสามารถในด้านสังคมศึกษา รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
3.  มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4.  มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ  
5.  มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย  นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6.  มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่นและสังคม 
7.  มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์ องค์ความรู้ ทางทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8.  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9.  สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน

โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562

หลักสูตรเดิม

(หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง

 (หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า 30

ไม่น้อยกว่า 30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า 30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

    1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 

         วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

 

9 – 12

 

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า 138

ไม่น้อยกว่า 103

  2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า  34

ไม่น้อยกว่า 54

40

       2.1.1 วิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 22

เรียน 40

28

       2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า 12

เรียน 14

12

 2.2 กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า  60

ไม่น้อยกว่า 84

ไม่น้อยกว่า 63

       2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า  40

เรียน    78

  42

      2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า  20

      เรียน     6

ไม่น้อยกว่า  21

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 174

ไม่น้อยกว่า 139

  • แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1521103

ศาสนศึกษา

3(2-2-5)

1641207

อารยธรรมโลก

3(2-2-5)

รวม

  20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

  รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตฯ วิทย์ฯ (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1521211

หลักพุทธธรรมและธรรมวิทยา

3(2-2-5)

1641112

ประวัติศาสตร์ไทย

3(2-2-5)

2541104

ภูมิศาสตร์กายภาพ

3(2-2-5)

2551118

การเมืองการปกครองไทย

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมฯ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้        

3(2-2-5)

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้         

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1642313

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ(บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (เลือก)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1002102

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

3(2-2-5)

2562102

กฎหมายเบื้องต้นและกระบวนการยุติธรรม

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

2533116

ท้องถิ่นศึกษา

3(2-2-5)

2533117

หลักสังคมวิทยา

3(2-2-5)

2543304

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

2533213

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล

3(2-2-5)

2533214

ความเป็นสกลทรรศน์

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

 22 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ชั่วโมงปฏิบัติ)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

2(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

2(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

2(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม   

9 หน่วยกิต

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 4/2565  เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย           :   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ       :   Bachelor of Education Program in Thai

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย        :   ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ    :   Bachelor of Education (Thai)
ชื่อย่อภาษาไทย         :   ค.บ.(ภาษาไทย)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ     :   B.Ed.(Thai)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร      ไม่น้อยกว่า  139  หน่วยกิต

รัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (4 ปี) เป็นหลักสูตรมุ่งผลิตครูที่มีความรอบรู้  ด้านภาษาไทยอย่างเชี่ยวชาญ ผลิตครูชั้นวิชาชีพที่มีความรู้ความสามารถ  เป็นนักวิชาการและนักพัฒนา   ด้านภาษาไทย มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู เพื่อนำไปสู่การจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีสติปัญญา ความสามารถ และอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนนำความรู้ความสามารถไปพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง

ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ  รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย  มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับภาษาไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน  ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ  โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งภาษาไทย รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  บัณฑิตครูภาษาไทยศึกษามีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูภาษาไทยที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2.  มีความรู้ความสามารถในด้านภาษาไทย รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่ เสมอ
3.  มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4.  มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล  และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ  
5.  มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย  นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6.  มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่น และสังคม 
7.  มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8.  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9.  สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน

โครงสร้างของหลักสูตร  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี)

พ.ศ. 2562

หลักสูตรเดิม

(หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง

 (หน่วยกิต)

1.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า  30

ไม่น้อยกว่า  30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า  30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

    1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  

         และเทคโนโลยี

 

6 – 9

 

 9 – 12

 

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า 133

ไม่น้อยกว่า 103

 2.1  กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 34

ไม่น้อยกว่า  54

40

   2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ

ไม่น้อยกว่า 22

เรียน  40

28

   2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า 12

เรียน  14

12

 2.2  กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า 60

ไม่น้อยกว่า  79

ไม่น้อยกว่า  63

   2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า 40

เรียน  75

  42

   2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 20

เรียน   4

ไม่น้อยกว่า  21

3.  หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า  169

ไม่น้อยกว่า  139

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา

 ชั้นปีที่  1   ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500119

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1541210

การฟัง การดู และการพูดสำหรับครูภาษาไทย

3(2-2-5)

1541412

แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  1   ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต วิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู         

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

1541212

การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการและวิชาชีพ

3(2-2-5)

1541118

หลักภาษาไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1011114

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1542117

พัฒนาการของภาษาไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  2   ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับ       คนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้    

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1542220

ศิลปะการอ่านออกเสียง

3(2-2-5)

1541107

ภาษาศาสตร์สำหรับครูภาษาไทย

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่  3   ภาคเรียนที่  1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครูบังคับ

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1543444

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรียน

3(2-2-5)

1543445

คติชนวิทยา

3(2-2-5)

1023230

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย

3(2-2-5)

1023231

การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

3(2-2-5)

1543236

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

3(2-2-5)

รวม

19 หน่วยกิต

ชั้นปีที่  3   ภาคเรียนที่  2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1011301

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1543446

วรรณกรรมกับการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่  4  ภาคเรียนที่  1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1012406

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

ชั้นปีที่  4  ภาคเรียนที่  2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาบังคับ

1544912

โครงงานและสัมมนาภาษาไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

วิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxx

   3(x-x-x)

รวม

12 หน่วยกิต

 

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 4/2565   วันที่ 29  พฤษภาคม 2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย               :   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ          :   Bachelor of Education Program in English

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย          :   ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ      :   Bachelor of Education (English)
ชื่อย่อภาษาไทย           :   ค.บ.(ภาษาอังกฤษ)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ       :   B.Ed.(English)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร

มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา

ความสำคัญของหลักสูตร

พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ และ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคมและดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลป วัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจน เป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) มีความรู้ ความสามารถและทักษะด้านภาษาอังกฤษที่ทันสมัย นำไปใช้ในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในชีวิตประจำวัน
2) มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นพลเมืองดี
3) มีเจตคติที่ดีและถูกต้องต่อบ้านเมือง พร้อมทำงานร่วมกับชุมชนและท้องถิ่น เพื่อพัฒนาพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
4) มีความรอบรู้และความสามารถในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษ ประยุกต์ความรู้ด้านทฤษฏีและปฏิบัติ เพื่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5) มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในปัจจุบัน สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการสอนภาษาอังกฤษทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน

โครงสร้างของหลักสูตร  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาภาษาอังกฤษ  ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562

หลักสูตรเดิม  (หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

ไม่น้อยกว่า 30

ไม่น้อยกว่า 30

ไม่น้อยกว่า 30

  1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

9 – 12

12 – 15

  1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

  1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

  1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

9 – 12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า 138

ไม่น้อยกว่า 103

  2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 34

ไม่น้อยกว่า 54

ไม่น้อยกว่า 40

2.1.1 วิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 22

เรียน          40

28

2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า 12

เรียน         14

12

  2.2 กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า 60

ไม่น้อยกว่า  84

ไม่น้อยกว่า 63

2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า 40

เรียน          78

42

2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 20

เรียน           6

21

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า 6

ไม่น้อยกว่า 6

ไม่น้อยกว่า 6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 174

ไม่น้อยกว่า 139

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1551501

การฟังและการพูดสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1551502

หลักภาษาสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ(บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1551503

ภาษาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชิวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1552503

สัทศาสตร์และสัทวิทยาสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1552504

ไวยากรณ์ขั้นสูงสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (เลือก)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1552502

การจัดการชั้นเรียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1553512

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1553509

การอ่านเพื่อการคิดวิเคราะห์สำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1553514

การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

3(2-2-5)

1553513

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

รวม

16 หน่วยกิต

 ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1553511

การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1553510

วรรณกรรมเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(X-X-X)

รวม

17 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาบังคับ

1554502

การแปลสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1554503

การเขียนเชิงวิชาการสำหรับครูภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

18 หน่วยกิต

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม  2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย              :  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ          :  Bachelor of Education Program in General Science

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย          : ครุศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ      : Bachelor of Education (General Science)
ชื่อย่อภาษาไทย           : ค.บ.(วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ       : B.Ed.(General Science)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ และทักษะในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู สามารถเป็นผู้นำ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย รับผิดชอบต่อสังคม ท้องถิ่น และพึ่งพาตนเองได้

ความสำคัญของหลักสูตร
เพื่อการเตรียมครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาประจำการ ให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ ซึ่งเชื่อมโยง และบูรณาการกับสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน (ในวัยเรียน และนอกวัยเรียน)

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร  เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการ วิชาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม และปฏิบัติตนตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
2. มีความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการทำงานร่วมกับบุคคลและกลุ่มคนในองค์กรได้อย่างสร้างสรรค์
3.  มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏี และระเบียบวิธีการศึกษา วิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่
4.  แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และข้อโต้แย้งโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมและปฏิบัติได้
5.  มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ โดยยอมรับข้อจำกัดและธรรมชาติของศาสตร์
6.  มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้ และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ

โครงสร้างของหลักสูตร  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต      แต่ละหมวดวิชา และแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปีพ.ศ. 2562

หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า  30

ไม่น้อยกว่า  30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า  30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

    1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

9 – 12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า  94

ไม่น้อยกว่า  133

ไม่น้อยกว่า  103

 2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า  34

ไม่น้อยกว่า  54

ไม่น้อยกว่า  40

   2.1.1 วิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า  22

เรียน 40

28

   2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า  12

เรียน 14

12

 2.2 กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า  60

ไม่น้อยกว่า  79

ไม่น้อยกว่า  63

 

2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า  40

เรียน 74

42

 

2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า  20

ไม่น้อยกว่า 5

ไม่น้อยกว่า  21

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 169

ไม่น้อยกว่า 139

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู         

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

4021127

เคมีสำหรับครู 1

3(2-2-5)

4031118

ชีววิทยาสำหรับครู 1

3(2-2-5)

  รวมหน่วยกิต

20

 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4021128

เคมีสำหรับครู 2

3(2-2-5)

4031119

ชีววิทยาสำหรับครู 2

3(2-2-5)

4091614

คณิตศาสตร์สำหรับครูวิทยาศาสตร์

3(2-2-5)

วิชาเลือก

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

  รวมหน่วยกิต

21

 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้        

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

4012305

ฟิสิกส์สำหรับครู 1

3(2-2-5)

4052107

วิทยาศาสตร์โลก

3(2-2-5)

  รวมหน่วยกิต

21

 ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก)

4000118

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

4012306

ฟิสิกส์สำหรับครู 2

3(2-2-5)

4042102

ดาราศาสตร์และอวกาศ

3(2-2-5)

  รวมหน่วยกิต

20

 

 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1023650

สะเต็มศึกษา

3(2-2-5)

4053103

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

  รวมหน่วยกิต

20

 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

4003204

ไฟฟ้าและพลังงาน

3(2-2-5)

4063108

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3(2-2-5)

1023229

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

  รวมหน่วยกิต

19

 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

  รวมหน่วยกิต

6

 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 

หมวดวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

หน่วยกิต

วิชาเลือก

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

Xxxxxxx

Xxxx

3(x-x-x)

  รวมหน่วยกิต

12

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565  เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย          :   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ      :   Bachelor of Education Program in Physical Education

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย      :   ครุศาสตรบัณฑิต (พลศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :   Bachelor of Education (Physical Education)
ชื่อย่อภาษาไทย         :   ค.บ.(พลศึกษา)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ    :   B.Ed.(Physical Education)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพเชิงวิชาการ เชี่ยวชาญชำนาญทักษะการสอนพลศึกษา      พร้อมจรรยาบรรณ

ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย  มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน  ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร   เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  มีจิตสำนึกของความเป็นครูพลศึกษา มีคุณธรรมจริยธรรม  มีจรรยาบรรณวิชาชีพ  เป็นอย่างที่ดีแก่นักเรียน
2.  มีความรู้ ความสามารถและทักษะทางวิชาการและวิชาชีพพลศึกษา การจัดการเรียนรู้  การฝึกกีฬาและการตัดสินกีฬา สามารถนำไปถ่ายทอดในโรงเรียนและการให้บริการแก่ชุมชนได้
3.  มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการทางพลศึกษา  สามารถจัดและบริหารโครงการพลศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย และส่งเสริมพัฒนานักกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ให้เหมาะสมกับการเป็นเมืองแห่งกีฬา (Sports City) 
4.  มีทักษะทางปัญญาความสามารถในการคิด แก้ปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และหลักการพลศึกษาอย่างสร้างสรรค์
5.  มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมใน  ฐานะครูพลศึกษา
6.  มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
7.  มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและวิชาชีพพลศึกษาอย่างต่อเนื่อง

โครงสร้างของหลักสูตร     หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา  ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี)

หลักสูตรเดิม  (หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง  (หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า  30

ไม่น้อยกว่า  30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า  30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

    1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

9 – 12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า  34

ไม่น้อยกว่า 22

ไม่น้อยกว่า 12

ไม่น้อยกว่า  60

ไม่น้อยกว่า  40

ไม่น้อยกว่า  20

ไม่น้อยกว่า 134

 ไม่น้อยกว่า 54

เรียน 40

เรียน 14

 ไม่น้อยกว่า 80

 เรียน    70

 เรียน    10

ไม่น้อยกว่า 104

40

28

12

ไม่น้อยกว่า 64

 41

ไม่น้อยกว่า  23

    2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

        2.1.1 วิชาชีพครู

        2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

    2.2 กลุ่มวิชาเอก

 

  2.2.1 วิชาบังคับ

 

  2.2.2 วิชาเลือก

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 170

ไม่น้อยกว่า 140

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1101105

ประวัติปรัชญาและหลักการพลศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

2(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxx

2(x-x-x)

รวม

22 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

   รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-สังคมฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

1101405

กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา  

2(2-0-4)

วิชาบังคับ

1101104

ภาษาอังกฤษสำหรับครูพลศึกษา

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1101302

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1101704

ทักษะและการสอนฟุตบอล 

3(2-2-5)

รวม

22 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-สังคมฯ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป (เลือก)

4002104

การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1102305

สรีรวิทยาการออกกำลังกายและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวทางกีฬา

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1101406

จิตวิทยากับการจัดการเรียนรู้พลศึกษา

3(3-0-6)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxx

2(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1103616

การวัดและการประเมินผลทางพลศึกษา 

3(2-2-5)

1103713

ทักษะและการสอนกีฬาไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx        

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

22 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1103617

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้พลศึกษา 

3(2-2-5)

1103501

การบริหารและการจัดการพลศึกษาในโรงเรียน

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxx

2(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 4  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม   

6 หน่วยกิต

  

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565   เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2565

ชื่อหลักสูตร
          ชื่อภาษาไทย        :  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา (4 ปี)
          ชื่อภาษาอังกฤษ    :  Bachelor of Education Program in Music Education

ชื่อปริญญา
        ชื่อเต็มภาษาไทย           :  ครุศาสตรบัณฑิต (ดนตรีศึกษา)
        ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ       :  Bachelor of Education (Music Education)
        ชื่อย่อภาษาไทย             :  ค.บ.(ดนตรีศึกษา)
        ชื่อยอภาษาอังกฤษ        :  B.Ed.(Music Education)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตทางด้านดนตรีให้มีคุณภาพเป็นเลิศทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย รู้รอบ สอนดี มีจิตวิญญาณความเป็นครู บูรณาการทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ร่วม กับศาสตร์การสอนดนตรีศึกษา รวมถึงอนุรักษ์เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติสู่ระดับ สากล

ความสำคัญของหลักสูตร
               ในปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลนั้นได้มุ่งเน้นการปฏิรูปการศึกษาตามยุทธศาสตร์ใหม่ของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) โดยมีกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นกระบวนการประกันคุณภาพภายในที่มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา อีกทั้งยังใช้เป็นแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัด การเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2562 ได้กำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) มีค่านิยมร่วม 2) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู 3) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ 4) เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 5) เป็นผู้มีความ สามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 6) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รวมถึงได้กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ซึ่งนำมามาบูรณาการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศาสตร์แห่งดนตรีศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่สังคม รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ สามารถประยุกต์และพัฒนาดนตรีให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติได้

การสร้างครูด้านดนตรีที่มีคุณภาพนั้น ต้องสอนผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจและมีสุนทรียะในดนตรีได้อย่างแท้จริงตามบทบาทของตน มีทักษะทางด้านดนตรี และการจัดการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความสามารถของตนได้ตลอดเวลา ซึ่งปัจจุบันสังคมของโลกเปิดกว้างด้านอาชีพของดนตรีว่ามีคุณประโยชน์ต่อมนุษย์ อาชีพด้านการดนตรีในปัจจุบันจึงได้รับการยอมรับว่าเป็นอาชีพที่มีเกียรติและสามารถสร้างรายได้ให้แก่บุคคลและกลุ่มธุรกิจ นอกเหนือจากการเป็นเพียงบุคลากรทางการศึกษา เช่น ศิลปิน นักร้อง นักประพันธ์ โปรดิวเซอร์ เป็นต้น โดยในประเทศและต่างประเทศ มีการนำเอาดนตรีมาใช้ในกิจกรรมทางสังคมในด้านความบันเทิง นาฏศิลป์ การละคร ศิลปวัฒนธรรม การแพทย์ การเมือง การทหาร การโฆษณาสินค้า ดังนั้นทำให้ในปัจจุบันจึงมีความต้องการบุคลากรด้านดนตรีเป็นจำนวนมาก เพื่อสร้างงานและตอบสนองต่อความต้องการตามพื้นฐานของสังคมที่มีความเจริญทางด้านการศึกษาและเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
1.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติทางดนตรีที่มีคุณภาพ เป็นผู้เรียนรู้ ฉลาดรู้และมีความเข้าใจกระบวนการวิจัยทางด้านดนตรี
2.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมทางดนตรี และบูรณาการทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ร่วมกับศาสตร์แห่งการสอนดนตรี
3.  เพื่อให้ผู้เรียนมีอุดมการณ์และจิตวิญญาณความเป็นครู มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
4.  เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น และประจำชาติสู่ระดับสากล

โครงสร้างของหลักสูตร   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาดนตรีศึกษา  ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชา และแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี2562

หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง(หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า  30

ไม่น้อยกว่า  30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า  30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3 – 6

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

     1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

9 – 12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า 133

ไม่น้อยกว่า 103

 2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า  34

ไม่น้อยกว่า 54

40

   2.1.1 วิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 22

เรียน 40

28

   2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า 12

เรียน 14

12

 2.2 กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า  60

ไม่น้อยกว่า 79

ไม่น้อยกว่า  63

 

2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า  40

เรียน  42

  43

 

2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า  20

ไม่น้อยกว่า  9

ไม่น้อยกว่า  20

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 169

ไม่น้อยกว่า 139

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาบังคับ

1091108

ทฤษฎีดนตรีไทย 1

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครูบังคับ

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1091109

ทฤษฎีดนตรีไทย 2

3(2-2-5)

1091110

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 1

3(2-2-5)

1091207

ประวัติ และวรรณกรรมดนตรีไทย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-วิทย์-คณิต(เลือก)

4002104

การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้        

3(2-2-5)

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้         

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1092108

ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 2

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x)

รวม

  20 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1023225

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x)

XXXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x)

XXXXXXXX

XXXXXXXX

3(x-x-x)

รวม

18 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครูบังคับ

1011301

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1093105

การขับร้องประสานเสียง

3(2-2-5)

1093502

นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาด้านดนตรี

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x)

XXXXXXXX

XXXXXXXX

2(x-x-x))

XXXXXXXX

XXXXXXXX

3(x-x-x)

รวม

 21 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1093903

หลักการ และวิธีวิจัยทางดนตรีศึกษา

3(2-2-5)

1093104

หลักการสอนดนตรีศึกษา

3(2-2-5)

1093503

ดนตรีพื้นบ้านของไทย

3(2-2-5)

1093106

ดนตรีในภูมิภาคเอเชีย

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXXX

XXXXXXXX

3(x-x-x)

รวม

19 หน่วยกิต

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1012406

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565  เมื่อวันที่  24  กรกฎาคม  2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย          :   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ      :   Bachelor of Education Program in Chinese Language Teaching

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย      :   ครุศาสตรบัณฑิต(การสอนภาษาจีน)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :   Bachelor of Education(Chinese Language Teaching)
ชื่อย่อภาษาไทย        :   ค.บ.(การสอนภาษาจีน)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ   :   B.Ed.(Chinese Language Teaching)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษาด้านภาษาจีน มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีจิตสำนึกในความเป็นไทย และรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา

ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาด้านภาษาจีนก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยีและการวิจัย พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองด้านภาษาจีนได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  บัณฑิตครูภาษาจีนมีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูภาษาจีนที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2.  มีความรู้ความสามารถในด้านภาษาจีน รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
3.  มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4.  มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ  
5.  มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย  นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6.  มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่น และสังคม 
7.  มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8.  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ด้านภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9.  สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน

โครงสร้างของหลักสูตร

          หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ.2562

หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต)

หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต)

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

    1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

ไม่น้อยกว่า  30

ไม่น้อยกว่า  30

9 – 12

ไม่น้อยกว่า  30

12 – 15

    1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

6 – 9

3 – 6

    1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

6 – 9

6 – 9

    1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 – 9

9 – 12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

ไม่น้อยกว่า 94

ไม่น้อยกว่า 133

ไม่น้อยกว่า 103

    2.1 กลุ่มวิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า  34

ไม่น้อยกว่า 54

40

        2.1.1 วิชาชีพครู

ไม่น้อยกว่า 22

เรียน 40

28

        2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ไม่น้อยกว่า 12

เรียน 14

12

    2.2 กลุ่มวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า  60

ไม่น้อยกว่า 79

ไม่น้อยกว่า 63

 

   2.2.1 วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า  40

เรียน    69

 42

 

   2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า  20

      เรียน     4

ไม่น้อยกว่า  21

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

ไม่น้อยกว่า  6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 169

ไม่น้อยกว่า 139

  • แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500126

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1571131

ระบบเสียงภาษาจีนกลาง

3(2-2-5)

1572111

อักษรจีน

3(2-2-5)

รวม

  20 หน่วยกิต

 

 ชั้นปีที่  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(1-2-3)

ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

 

1571120

ทักษะภาษาจีนพื้นฐาน

3(2-2-5)

1571212

การสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจำวัน

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

21 หน่วยกิต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้        

3(2-2-5)

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้         

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1571121

หลักภาษาจีนเบื้องต้น

3(2-2-5)

1572204

การสนทนาภาษาจีนขั้นสูง

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

 

 ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก)

4032227

การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1572112

ทักษะภาษาจีนระดับกลาง

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1572113

หลักภาษาจีนระดับกลาง

3(2-2-5)

1573611

การแปลภาษาจีน

3(2-2-5)

1573109

ไวยากรณ์จีน

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

20 หน่วยกิต

 

 ชั้นปีที่ 3  ภาคเรียนที่  2 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1573108

ภาษาจีนระดับสูง

3(2-2-5)

1572311

การอ่านภาษาจีน

3(2-2-5)

1573439

การเขียนภาษาจีน

3(2-2-5)

วิชาเลือก

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

หมวดวิชาเลือกเสรี

xxxxxxx

xxxxxxxxxx

3(x-x-x)

รวม

22 หน่วยกิต

 

ชั้นปีที่ ภาคเรียนที่  1 

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565   เมื่อวันที่  26  มิถุนายน  2565

ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย               :  หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ          :  Bachelor of Education Program in Dance Education\

ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย          :  ครุศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ     :  Bachelor of Education (Dance Education)
ชื่อย่อภาษาไทย            :  ค.บ.(นาฏศิลป์ศึกษา)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ       :  B.Ed.(Dance Education)

ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

ปรัชญาของหลักสูตร
         ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูง มีความรู้ความสามารถด้านนาฏศิลป์ทั้งทางภาคทฤษฎีและปฏิบัติอย่างเชี่ยวชาญและลุ่มลึก มีคุณธรรมจริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ หวงแหนและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญานำไปสู่การอนุรักษ์ สืบสานและส่งเสริมงานนาฏศิลป์โดยเฉพาะนาฏศิลป์ท้องถิ่น สามารถบูรณาการความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณธรรมและจริยธรรมแห่งวิชาชีพไปสู่การจัดการศึกษาและพัฒนา ครูให้เป็นคนดี มีสติปัญญา มีความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงและสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ สร้างประโยชน์กับตนเอง สังคมและประเทศชาติอย่างยั่งยืน

ความสำคัญของหลักสูตร
           คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้พัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา โดยเล็งเห็นความสำคัญของบุคลากรทางการศึกษาด้านนาฏศิลป์ที่มีความรู้ความสามารถมีสมรรถนะที่ครอบคลุมและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่บนพื้นฐานขององค์ความรู้เดิม ซึ่งในปัจจุบันพบว่าครูนาฏศิลป์มีความจำเป็นและขาดแคลน ทั้งยังเป็นที่ต้องการของสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เผยแพร่นาฏศิลป์ให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยมุ่งผลิตครูนาฏศิลป์ที่มีศักยภาพพร้อมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและมีสำนึกดีต่อสังคม ซึ่งสอดคล้องกับสภาพสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนและสร้างทักษะการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนยังประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพต่อไป

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  มีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะ การถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2.  มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3.  มีความรู้ความสามารถในทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการสอนของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและการวิจัยท้องถิ่น โดยมีทักษะด้านทฤษฎีและปฏิบัติทางนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ท้องถิ่นศรีสะเกษและนาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์นานาชาติ นาฏศิลป์ร่วมสมัย และการแสดงสมัยนิยม
4.  มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถวิเคราะห์และแสวงหาพัฒนาองค์ความรู้การวิจัยทางด้านวิชาชีพ วิจัยท้องถิ่นและวิชาเอกสู่ระดับสากล
5.  มีความคิดเชิงบวก รู้บทบาทหน้าที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมชุมชน และสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นเป็นหมู่คณะ พร้อมทั้งสามารถบริหารจัดการในภาวการณ์เป็นผู้นำที่ดี
6.  มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร การสร้างละประยุกต์ใช้นวัตกรรม  ทางการศึกษารูปแบบใหม่ ๆ มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ศึกษา

โครงสร้างของหลักสูตร        หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

หมวดวิชา

เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์(หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562

หลักสูตรใหม่ 

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
   1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
   1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
   1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
   1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ไม่น้อยกว่า  30



ไม่น้อยกว่า 30
12 – 15
3 – 6
6 – 9
9 -12

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน
    2.1 กลุ่มวิชาชีพครู
         2.1.1 วิชาชีพครู
         2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
    2.2 กลุ่มวิชาเอก
         2.2.1 วิชาบังคับ
         2.2.2 วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า 94
ไม่น้อยกว่า 34
ไม่น้อยกว่า 22
ไม่น้อยกว่า 12
ไม่น้อยกว่า 60
เรียน 40
เรียน 20

ไม่น้อยกว่า 106
ไม่น้อยกว่า 40
28
12
ไม่น้อยกว่า 66
45
ไม่น้อยกว่า 21

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า 6

ไม่น้อยกว่า 6

จำนวนหน่วยกิตรวม

ไม่น้อยกว่า 130

ไม่น้อยกว่า 142

แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป – ภาษาฯ

(บังคับ)

1500119

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ

3(2-2-5)

1500120

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

3(2-2-5)

1500127

การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

1500128

การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1021208

การพัฒนาหลักสูตร

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1111101

ศิลปะการแสดงท้องถิ่นศรีสะเกษ

3(2-2-5)

1111401

พิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ไทย

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ)

2500116

สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ  (บังคับ)

4000119

การคิดและการตัดสินใจ

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1011115

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

1055109

จิตวิญญาณความเป็นครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1111201

การละครไทยและบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์

3(2-2-5)

1111301

รำพื้นฐานทางนาฏศิลป์ศึกษา

3(2-2-5)

1111601

การออกแบบเครื่องแต่งกายและแต่งหน้า

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ

(บังคับ)

1521102

คุณธรรมกับชีวิต

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป – สังคมฯ (บังคับ)

2500117

วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก

3(2-2-5)

ศึกษาทั่วไป-วิทย์-คณิต (เลือก)

4002104

การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1032702

นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

3(2-2-5)

1052403

จิตวิทยาสำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาบังคับ

1112101

ระบำมาตรฐาน

3(2-2-5)

1112103

นาฏศิลป์ไทยสำหรับครู

3(2-2-5)

รวม

21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ)

4000117

เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร

3(2-2-5)

วิชาชีพครู

1043119

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

3(2-2-5)

1022304

วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1002803

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1

2(90)

วิชาบังคับ

1112104

การจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ในหลักสูตร

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

3(2-2-5)

1113101

ดนตรีและการขับร้องสำหรับครูนาฏศิลป์

3(2-2-5)

1113501

นาฏศิลป์นานาชาติ

3(2-2-5)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1013104

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู

2(1-2-3)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003806

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2

2(90)

วิชาบังคับ

1113301

รำหน้าพาทย์

3(2-2-5)

1113401

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านนาฏศิลป์ศึกษา

3(2-2-5)

1113602

การสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์สำหรับครู

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

19 หน่วยกิต

             

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาชีพครู

1003102

กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

3(2-2-5)

1043701

การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

3(2-2-5)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1003807

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3

2(90)

วิชาบังคับ

1113901

การวิจัยสำหรับครูนาฏศิลป์

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

หมวดวิชาเลือกเสรี

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

20 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1004805

ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

6(540)

รวม

6 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุ่มวิชา

รหัสวิชา

ชื่อวิชา

น(ท-ป-ค)

วิชาบังคับ

1114902

การสัมมนาทางนาฏศิลป์ศึกษา

3(2-2-5)

วิชาเลือก

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

หมวดวิชาเลือกเสรี

XXXXXXX

XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

3(X-X-X)

รวม

15 หน่วยกิต