ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรที่เปิดทำการเรียนการสอนในคณะครุศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ ระดับปริญญาตรี มีจำนวนทั้งหมด 12 หลักสูตร รายละเอียดแผนการจัดการเรียนการสอนของแต่ละหลักสูตรมีรายละเอียด ดังนี้
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2565
- ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญทางการสอนปฐมวัยศึกษาวิจัย ใฝ่รู้ เป็นคนดี นำชุมชน พัฒนาท้องถิ่น
ความสำคัญของหลักสูตร
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย เพื่อผลิตบัณฑิตที่ทำงานเกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู และการจัดการศึกษาปฐมวัย เมื่อปีการศึกษา 2548 ในช่วงที่ผ่านมาสภาพเหตุการณ์ต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และส่งผลกระทบโดยตรงต่อกระบวนการผลิตและพัฒนาบัณฑิตสาขาการศึกษาปฐมวัย เนื่องจาก การพัฒนาปฐมวัย เป็นเรื่องที่มีความสําคัญเป็นอย่างมากในการเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาคนไทยที่มีคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลต่ออนาคตของประเทศชาติ เป็นประชากรในอนาคตที่จะพัฒนาประเทศในอีก 20 ปีข้างหน้า การกําหนดทิศทางการ พัฒนาทุนมนุษย์ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) จึงมีความหมายและความสําคัญในการที่จะนํามาพิจารณาเพื่อใช้ในการพัฒนาให้เด็กปฐมวัยในวันนี้ได้มีต้นทุนและศักยภาพตามที่ประเทศต้องการ เพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยจังได้ปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ระดับปริญญาตรี 4 ปี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566) เพื่อพัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างมืออาชีพ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของสังคมซึ่งจะเป็นกำลังของชาติต่อไป
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพครูสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ
2. มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
3. มีทักษะชีวิต สามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจบัน และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
4. มีความเป็นนวัตกรปฐมวัย สามารถนำความรู้ด้านวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อสร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ให้สังคม ชุมชนและท้องถิ่น
- หลักสูตร 4 ปี
แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) | 1500119 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ | 3(2-2-5) |
1500120 | ภาษาอังกฤษพื้นฐาน | 3(2-2-5) | |
1500127 | การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) | |
วิชาชีพครู | 1055109 | จิตวิญญาณความเป็นครู | 3(2-2-5) |
1011115 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) | |
วิชาบังคับ | 1071108 | การศึกษาปฐมวัย | 3(2-2-5) |
1071109 | สมองกับการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะการคิดสำหรับเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์(บังคับ) | 2500116 | สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) | 4000119 | การคิดและการตัดสินใจ | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1021208 | การพัฒนาหลักสูตร | 3(2-2-5) |
วิชาบังคับ | 1071112 | การพัฒนาสุขภาวะและความปลอดภัยสำหรับเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) |
1071408 | การจัดกิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) | 1521102 | คุณธรรมกับชีวิต | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) | 1500128 | การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) | 2500117 | วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1043119 | การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ | 3(2-2-5) |
1022304 | วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาบังคับ | 1072316 | การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี | 3(2-2-5) |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) | 4000117 | เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก) | 4032227 | การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่ | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1032702 | นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา | 3(2-2-5) |
1011114 | จิตวิทยาสำหรับครู | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1002803 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1072317 | การจัดกิจกรรมทักษะความฉลาดทางอารมณ์และสังคม สำหรับเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) |
1072105 | หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู | 1011301 | กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา | 3(2-2-5) |
1043701 | การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003806 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1073207 | การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) |
1073503 | ครอบครัว ชุมชน และสังคมในการจัดการศึกษาปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู | 1013104 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003807 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1073318 | การจัดประสบการณการเรียนรูแบบบูรณาการสําหรับเด็กอายุ 3-6 ปี | 3(2-2-5) |
1073602 | การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
1073705 | การจัดและบริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1004805 | ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา | 6(540) |
รวม | 6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาบังคับ | 1074301 | ภาษาอังกฤษสำหรับครูปฐมวัย | 3(2-2-5) |
1074407 | การต่อยอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรม | 3(2-2-5) | |
หมวดวิชาเลือกเสรี | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 12 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2565
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตครูดีที่มีคุณภาพสูงในยุค 4.0 ให้เป็นครูที่มีกรอบความคิดแบบเติบโต (Growth mindset) ที่เชื่อว่าสมองของมนุษย์ทุกคนพัฒนาได้ขึ้นอยู่กับอัตราการเรียนรู้ ความสามารถและสติปัญญาเป็นเรื่องของพรแสวง สามารถสร้างสรรค์ให้ห้องเรียนมีความน่าสนใจ ใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน (Active Learning) แสวงหาความรู้ใหม่และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนได้ เข้าใจสถานการณ์สังคมและชุมชน และมีจิตวิญญาณความ
ความสำคัญของหลักสูตร
ปัจจุบันอาชีพครูถือว่าสำคัญยิ่ง เพราะครูมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญมั่นคงให้ก้าวทันต่อสถานการณ์ หลักสูตรครุศาตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา เป็นสาขาหลักที่ตรงกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับประถมศึกษา การจัดการศึกษาในหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาบัณฑิตที่มีความสามารถและมีสมรรถภาพของการเป็นครูประถมศึกษาที่มีคุณลักษณะสำคัญของการเป็นครูดีในยุค 4.0 ดังนั้นบัณฑิตของหลักสูตรจะเป็นกำลังสำคัญและมีส่วนร่วมในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศต่อไป
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตครูประถมศึกษาให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ให้มีคุณสมบัติและคุณลักษณะของความเป็นครูดี ยุค 4.0 ในการสร้างการเรียนรู้เพื่อให้ได้พลเมืองที่มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ดังต่อไปนี้
1) ด้านความรู้ความคิด มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเนื้อหาวิชากาประถมศึกษา การพัฒนา หลักสูตร การวิจัยทางการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี
2) ด้านทักษะความสามารถ มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาทักษะการออกแบบและคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัด การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทักษะประสบการณ์และการสร้างองค์ความรู้ ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
3) ด้านคุณลักษณะ มีจิตวิญญาณและคุณธรรมจริยธรรม ความเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต และภาวะผู้นำ
- หลักสูตร 4 ปี
แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) | 1500119 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ | 3(2-2-5) |
1500120 | ภาษาอังกฤษพื้นฐาน | 3(2-2-5) | |
1500127 | การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) | |
1500128 | การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) | |
วิชาชีพครู | 1055109 | จิตวิญญาณความเป็นครู | 3(2-2-5) |
1011115 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) | |
วิชาบังคับ | 1021103 | สังคมศึกษาสำหรับครูประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) | 2500116 | สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) | 4000119 | การคิดและการตัดสินใจ | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1021208 | การพัฒนาหลักสูตร | 3(2-2-5) |
วิชาบังคับ | 1021102 | คณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
1021101 | ภาษาไทยสำหรับครูประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
1021104 | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับครูประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
1021105 | ภาษาอังกฤษสำหรับครูประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) | 1521102 | คุณธรรมกับชีวิต | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) | 2500117 | วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(เลือก) | 4002104 | การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1043119 | การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ | 3(2-2-5) |
1022304 | วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาบังคับ | 1022204 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
1022209 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(บังคับ) | 4000117 | เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1032702 | นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา | 3(2-2-5) |
1052403 | จิตวิทยาสำหรับครู | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1002803 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1022210 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
1022208 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
หมวดวิชาเลือกเสรี | xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครูบังคับ | 1003102 | กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา | 3(2-2-5) |
1043701 | การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003806 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1022206 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
1023233 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครูบังคับ | 1013104 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003807 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1024201 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้การงานอาชีพในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
1024202 | หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ศิลปะในระดับประถมศึกษา | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1004805 | ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา | 6(540) |
รวม | 6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาบังคับ | 1014108 | การประถมศึกษา | 3(2-2-5) |
วิชาเลือก | xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี | xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 12 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2565
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตเพื่อให้มีความรู้ในด้านเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์ ศาสตร์การสอน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อุดมการณ์และจิตวิญญาณของวิชาชีพครู มีความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะขั้นสูงในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคม สำนึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู มีความสามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ มีโลกทัศน์ที่กว้าง ก้าวทันเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
ความสำคัญของหลักสูตร
เพื่อเป็นการสร้างครูและบุคลากรทางการศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ก่อนประจำการพัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับศาสตร์สาขาอื่น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีความรู้ในเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์อย่างลึกซึ้ง และธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร์รวมทั้งมีทักษะการสอน และถ่ายทอดเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ทุกระดับการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ และนอกระบบ
2. มีความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้
3. มีอุดมการณ์และจิตวิญญาณของความเป็นครู มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคมและสำนึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู
4. มีความสามารถบูรณาการความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น สังคมและประเทศชาติ
5. มีโลกทัศน์ที่กว้าง ก้าวทันเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจและการเมืองและสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
3.1.4 แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
4091203 |
หลักการคณิตศาสตร์ |
3(2-2-5) |
4091403 |
แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1 |
3(2-2-5) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
4091404 |
แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2 |
3(2-2-5) |
4091113 |
ความน่าจะเป็นและสถิติ |
3(2-2-5) |
|
4091701 |
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
4094201 |
ทฤษฎีจำนวน |
3(2-2-5) |
4092502 |
เรขาคณิตเบื้องต้น |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก) |
4000118 |
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1011114 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4092607 |
พีชคณิตเชิงเส้น |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4093405 |
การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ |
3(2-2-5) |
4093103 |
ทฤษฎีสมการและสมการเชิงฟังก์ชันเบื้องต้น |
3(2-2-5) |
|
4093703 |
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับการศึกษาภาคบังคับ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4093704 |
การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
3(2-2-5) |
4093705 |
ภาษาอังกฤษสำหรับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ |
3(2-2-5) |
|
4093901 |
การวิจัยทางคณิตศาสตรศึกษา |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
XXXXXXX |
XXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
รวม |
12 หน่วยกิต |
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาระดับปริญญาตรี 4 ปี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2565ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งเน้นพัฒนาบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์ ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะสู่ศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อประกอบวิชาชีพ พัฒนาสังคมและชุมชน รู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาปรับใช้ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งคอมพิวเตอร์ศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ ตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีความรู้ มีสมรรถนะที่สอดคล้องกับสถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่มีความเจริญอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัล ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่เน้นการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล(Digital Literacy) ความฉลาดรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ความฉลาดรู้สื่อ (Media Literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้ (Learning how to Learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2. มีความอดทน ใจกว้าง และมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการทำงานร่วมกันกับผู้เรียนและผู้ร่วมงานทุกกลุ่ม
3. มีความรอบรู้และมีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่
4. ส่งเสริมการคิดแก้ไขปัญหา และข้อโต้แย้งโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมและปฏิบัติได้
5. มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการ วิชาชีพ และสังคมอย่างมีเหตุผลที่สมเหตุสมผล โดยบูรณาการศาสตร์แบบสหวิทยาการและพหุวิทยาการเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
6. มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร์ทั้งหลาย และมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
7. มีทักษะการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ และพัฒนาองค์ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ วิทยาการคำนวณ (Coding) เพื่อการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยได้อย่างเหมาะสม
8. มีความสามารถถ่ายทอด บูรณาการ แสวงหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศาสตร์ด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500119 |
ภาษาไทยเพื่อการสืบค้นและการสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
4091615 |
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
4121501 |
กฎหมายและจรรยาบรรณทางคอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3 |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป- มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1011114 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|
วิชาบังคับ |
4121503 |
ขั้นตอนวิธีและการเขียนโปรแกรม |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
|
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – มนุษย์ฯ (บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
4122211 |
การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นสูง |
3(2-2-5) |
4122708 |
สถาปัตยกรรมและการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
ศึกษาทั่วไป – คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
4032227 |
การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1017201 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4122212 |
ระบบการจัดการฐานข้อมูล |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3 |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
|
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806
|
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4123112 |
วิทยาการคำนวณ |
3(2-2-5) |
4123514 |
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ |
3(2-2-5) |
|
4123666 |
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
|
4123733 |
การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์ เคลื่อนที่ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาชีพครู |
1011301 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4123410 |
ระบบสารสนเทศและดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
4123411 |
วิทยาการการจัดการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท–ป–ค) |
วิชาบังคับ |
4124120 |
วิทยาการก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
4124934 |
วิจัยและพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxx |
xxxxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
12 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มีมติอนุมัติ ในการประชุมครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Social Studies
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Social Studies)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(สังคมศึกษา)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Social Studies)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีจิตสำนึกในความเป็นไทย และรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัย และศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจ และด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บัณฑิตครูสังคมศึกษามีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูสังคมศึกษาที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2. มีความรู้ความสามารถในด้านสังคมศึกษา รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
3. มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4. มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ
5. มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่นและสังคม
7. มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์ องค์ความรู้ ทางทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 |
หลักสูตรเดิม (หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร |
ไม่น้อยกว่า 30 – |
ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 |
ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 |
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
– |
6 – 9
|
9 – 12
|
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 138 |
ไม่น้อยกว่า 103 |
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 34 |
ไม่น้อยกว่า 54 |
40 |
2.1.1 วิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 22 |
เรียน 40 |
28 |
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
ไม่น้อยกว่า 12 |
เรียน 14 |
12 |
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
ไม่น้อยกว่า 60 |
ไม่น้อยกว่า 84 |
ไม่น้อยกว่า 63 |
2.2.1 วิชาบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 40 |
เรียน 78 |
42 |
2.2.2 วิชาเลือก |
ไม่น้อยกว่า 20 |
เรียน 6 |
ไม่น้อยกว่า 21 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 174 |
ไม่น้อยกว่า 139 |
- แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1521103 |
ศาสนศึกษา |
3(2-2-5) |
1641207 |
อารยธรรมโลก |
3(2-2-5) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตฯ วิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1521211 |
หลักพุทธธรรมและธรรมวิทยา |
3(2-2-5) |
1641112 |
ประวัติศาสตร์ไทย |
3(2-2-5) |
|
2541104 |
ภูมิศาสตร์กายภาพ |
3(2-2-5) |
|
2551118 |
การเมืองการปกครองไทย |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมฯ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1642313 |
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ(บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (เลือก) |
4032227 |
การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1002102 |
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น |
3(2-2-5) |
2562102 |
กฎหมายเบื้องต้นและกระบวนการยุติธรรม |
3(2-2-5) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
2533116 |
ท้องถิ่นศึกษา |
3(2-2-5) |
2533117 |
หลักสังคมวิทยา |
3(2-2-5) |
|
2543304 |
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
2533213 |
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล |
3(2-2-5) |
2533214 |
ความเป็นสกลทรรศน์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
22 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ชั่วโมงปฏิบัติ) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
2(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
2(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
2(x-x-x) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
9 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Thai
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Thai)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(ภาษาไทย)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Thai)
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (4 ปี) เป็นหลักสูตรมุ่งผลิตครูที่มีความรอบรู้ ด้านภาษาไทยอย่างเชี่ยวชาญ ผลิตครูชั้นวิชาชีพที่มีความรู้ความสามารถ เป็นนักวิชาการและนักพัฒนา ด้านภาษาไทย มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู เพื่อนำไปสู่การจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีสติปัญญา ความสามารถ และอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนนำความรู้ความสามารถไปพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับภาษาไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งภาษาไทย รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บัณฑิตครูภาษาไทยศึกษามีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูภาษาไทยที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2. มีความรู้ความสามารถในด้านภาษาไทย รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่ เสมอ
3. มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4. มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ
5. มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
7. มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ในกลุ่มสาระภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 |
หลักสูตรเดิม (หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร |
ไม่น้อยกว่า 30 – |
ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 |
ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 |
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี |
–
|
6 – 9
|
9 – 12
|
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 133 |
ไม่น้อยกว่า 103 |
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 34 |
ไม่น้อยกว่า 54 |
40 |
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 22 |
เรียน 40 |
28 |
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
ไม่น้อยกว่า 12 |
เรียน 14 |
12 |
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
ไม่น้อยกว่า 60 |
ไม่น้อยกว่า 79 |
ไม่น้อยกว่า 63 |
2.2.1 วิชาบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 40 |
เรียน 75 |
42 |
2.2.2 วิชาเลือก |
ไม่น้อยกว่า 20 |
เรียน 4 |
ไม่น้อยกว่า 21 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 169 |
ไม่น้อยกว่า 139 |
แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500119 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1541210 |
การฟัง การดู และการพูดสำหรับครูภาษาไทย |
3(2-2-5) |
1541412 |
แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต วิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|
วิชาบังคับ |
1541212 |
การเขียนเพื่อการสื่อสารทางวิชาการและวิชาชีพ |
3(2-2-5) |
1541118 |
หลักภาษาไทย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1011114 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1542117 |
พัฒนาการของภาษาไทย |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก) |
4032227 |
การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับ คนยุคใหม่ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1542220 |
ศิลปะการอ่านออกเสียง |
3(2-2-5) |
1541107 |
ภาษาศาสตร์สำหรับครูภาษาไทย |
3(2-2-5) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครูบังคับ |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1543444 |
วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรียน |
3(2-2-5) |
1543445 |
คติชนวิทยา |
3(2-2-5) |
|
1023230 |
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย |
3(2-2-5) |
|
1023231 |
การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย |
3(2-2-5) |
|
1543236 |
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย |
3(2-2-5) |
|
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1011301 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1543446 |
วรรณกรรมกับการวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1012406 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาบังคับ |
1544912 |
โครงงานและสัมมนาภาษาไทย |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
วิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
12 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 4/2565 วันที่ 29 พฤษภาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in English
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (English)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(ภาษาอังกฤษ)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Ed.(English)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ และ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคมและดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลป วัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจน เป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1) มีความรู้ ความสามารถและทักษะด้านภาษาอังกฤษที่ทันสมัย นำไปใช้ในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในชีวิตประจำวัน
2) มีคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณความเป็นครู รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เป็นพลเมืองดี
3) มีเจตคติที่ดีและถูกต้องต่อบ้านเมือง พร้อมทำงานร่วมกับชุมชนและท้องถิ่น เพื่อพัฒนาพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
4) มีความรอบรู้และความสามารถในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษ ประยุกต์ความรู้ด้านทฤษฏีและปฏิบัติ เพื่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5) มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ในปัจจุบัน สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการสอนภาษาอังกฤษทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 |
หลักสูตรเดิม (หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป |
ไม่น้อยกว่า 30 |
ไม่น้อยกว่า 30 |
ไม่น้อยกว่า 30 |
1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร |
– |
9 – 12 |
12 – 15 |
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
– |
6 – 9 |
9 – 12 |
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 138 |
ไม่น้อยกว่า 103 |
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 34 |
ไม่น้อยกว่า 54 |
ไม่น้อยกว่า 40 |
2.1.1 วิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 22 |
เรียน 40 |
28 |
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
ไม่น้อยกว่า 12 |
เรียน 14 |
12 |
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
ไม่น้อยกว่า 60 |
ไม่น้อยกว่า 84 |
ไม่น้อยกว่า 63 |
2.2.1 วิชาบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 40 |
เรียน 78 |
42 |
2.2.2 วิชาเลือก |
ไม่น้อยกว่า 20 |
เรียน 6 |
21 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 174 |
ไม่น้อยกว่า 139 |
แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1551501 |
การฟังและการพูดสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
1551502 |
หลักภาษาสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ(บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1551503 |
ภาษาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชิวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1552503 |
สัทศาสตร์และสัทวิทยาสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
1552504 |
ไวยากรณ์ขั้นสูงสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (เลือก) |
4032227 |
การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1552502 |
การจัดการชั้นเรียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1553512 |
หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
1553509 |
การอ่านเพื่อการคิดวิเคราะห์สำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
1553514 |
การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 |
3(2-2-5) |
|
1553513 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
รวม |
16 หน่วยกิต |
ปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1553511 |
การพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
1553510 |
วรรณกรรมเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(X-X-X) |
รวม |
17 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาบังคับ |
1554502 |
การแปลสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
1554503 |
การเขียนเชิงวิชาการสำหรับครูภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxxxxx |
3(x-x-x) |
รวม |
18 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in General Science
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (General Science)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Ed.(General Science)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ และทักษะในศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู สามารถเป็นผู้นำ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย รับผิดชอบต่อสังคม ท้องถิ่น และพึ่งพาตนเองได้
ความสำคัญของหลักสูตร
เพื่อการเตรียมครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการ รวมทั้งการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาประจำการ ให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ ซึ่งเชื่อมโยง และบูรณาการกับสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน (ในวัยเรียน และนอกวัยเรียน)
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการ วิชาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม และปฏิบัติตนตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
2. มีความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งการทำงานร่วมกับบุคคลและกลุ่มคนในองค์กรได้อย่างสร้างสรรค์
3. มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฏี และระเบียบวิธีการศึกษา วิจัยเพื่อสร้างความรู้ใหม่
4. แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และข้อโต้แย้งโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการแสวงหาทางเลือกใหม่ที่เหมาะสมและปฏิบัติได้
5. มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ โดยยอมรับข้อจำกัดและธรรมชาติของศาสตร์
6. มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้ และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชา และแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 |
หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) |
|
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร |
ไม่น้อยกว่า 30 – |
ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 |
ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 |
|
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
|
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
|
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
– |
6 – 9 |
9 – 12 |
|
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 133 |
ไม่น้อยกว่า 103 |
|
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 34 |
ไม่น้อยกว่า 54 |
ไม่น้อยกว่า 40 |
|
2.1.1 วิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 22 |
เรียน 40 |
28 |
|
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
ไม่น้อยกว่า 12 |
เรียน 14 |
12 |
|
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
ไม่น้อยกว่า 60 |
ไม่น้อยกว่า 79 |
ไม่น้อยกว่า 63 |
|
2.2.1 วิชาบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 40 |
เรียน 74 |
42 |
|
2.2.2 วิชาเลือก |
ไม่น้อยกว่า 20 |
ไม่น้อยกว่า 5 |
ไม่น้อยกว่า 21 |
|
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
|
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 169 |
ไม่น้อยกว่า 139 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|
วิชาบังคับ |
4021127 |
เคมีสำหรับครู 1 |
3(2-2-5) |
4031118 |
ชีววิทยาสำหรับครู 1 |
3(2-2-5) |
|
รวมหน่วยกิต |
20 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
4021128 |
เคมีสำหรับครู 2 |
3(2-2-5) |
4031119 |
ชีววิทยาสำหรับครู 2 |
3(2-2-5) |
|
4091614 |
คณิตศาสตร์สำหรับครูวิทยาศาสตร์ |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
รวมหน่วยกิต |
21 |
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
4012305 |
ฟิสิกส์สำหรับครู 1 |
3(2-2-5) |
4052107 |
วิทยาศาสตร์โลก |
3(2-2-5) |
|
รวมหน่วยกิต |
21 |
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก) |
4000118 |
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4012306 |
ฟิสิกส์สำหรับครู 2 |
3(2-2-5) |
4042102 |
ดาราศาสตร์และอวกาศ |
3(2-2-5) |
|
รวมหน่วยกิต |
20 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1023650 |
สะเต็มศึกษา |
3(2-2-5) |
4053103 |
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
|
รวมหน่วยกิต |
20 |
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
4003204 |
ไฟฟ้าและพลังงาน |
3(2-2-5) |
4063108 |
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
3(2-2-5) |
|
1023229 |
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
|
รวมหน่วยกิต |
19 |
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวมหน่วยกิต |
6 |
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
หมวดวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
หน่วยกิต |
วิชาเลือก |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
Xxxxxxx |
Xxxx |
3(x-x-x) |
รวมหน่วยกิต |
12 |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Physical Education
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (พลศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Physical Education)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(พลศึกษา)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Physical Education)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพเชิงวิชาการ เชี่ยวชาญชำนาญทักษะการสอนพลศึกษา พร้อมจรรยาบรรณ
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจำการรวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย มีลักษณะเป็นสหวิทยาการซึ่งเชื่อมโยงและบูรณาการเรื่องการศึกษากับสังคมศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคน ในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยี การวิจัยและศาสตร์แห่งสังคมศึกษา รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติ พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีจิตสำนึกของความเป็นครูพลศึกษา มีคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นอย่างที่ดีแก่นักเรียน
2. มีความรู้ ความสามารถและทักษะทางวิชาการและวิชาชีพพลศึกษา การจัดการเรียนรู้ การฝึกกีฬาและการตัดสินกีฬา สามารถนำไปถ่ายทอดในโรงเรียนและการให้บริการแก่ชุมชนได้
3. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการทางพลศึกษา สามารถจัดและบริหารโครงการพลศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย และส่งเสริมพัฒนานักกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ให้เหมาะสมกับการเป็นเมืองแห่งกีฬา (Sports City)
4. มีทักษะทางปัญญาความสามารถในการคิด แก้ปัญหาและประยุกต์ใช้ความรู้และหลักการพลศึกษาอย่างสร้างสรรค์
5. มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมใน ฐานะครูพลศึกษา
6. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
7. มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและวิชาชีพพลศึกษาอย่างต่อเนื่อง
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) |
หลักสูตรเดิม (หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) |
|
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร |
ไม่น้อยกว่า 30 – |
ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 |
ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 |
|
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
|
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
|
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
– |
6 – 9 |
9 – 12 |
|
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 ไม่น้อยกว่า 34 ไม่น้อยกว่า 22 ไม่น้อยกว่า 12 ไม่น้อยกว่า 60 ไม่น้อยกว่า 40 ไม่น้อยกว่า 20 |
ไม่น้อยกว่า 134 ไม่น้อยกว่า 54 เรียน 40 เรียน 14 ไม่น้อยกว่า 80 เรียน 70 เรียน 10 |
ไม่น้อยกว่า 104 40 28 12 ไม่น้อยกว่า 64 41 ไม่น้อยกว่า 23 |
|
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
||||
2.1.1 วิชาชีพครู |
||||
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
||||
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
||||
2.2.1 วิชาบังคับ |
||||
2.2.2 วิชาเลือก |
||||
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
|
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 170 |
ไม่น้อยกว่า 140 |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1101105 |
ประวัติปรัชญาและหลักการพลศึกษา |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
2(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
2(x-x-x) |
รวม |
22 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|
วิชาบังคับ |
1101405 |
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา |
2(2-0-4) |
วิชาบังคับ |
1101104 |
ภาษาอังกฤษสำหรับครูพลศึกษา |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1101302 |
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1101704 |
ทักษะและการสอนฟุตบอล |
3(2-2-5) |
รวม |
22 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-สังคมฯ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในสังคมโลก |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป (เลือก) |
4002104 |
การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1102305 |
สรีรวิทยาการออกกำลังกายและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวทางกีฬา |
3(2-2-5) |
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1101406 |
จิตวิทยากับการจัดการเรียนรู้พลศึกษา |
3(3-0-6) |
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
2(x-x-x) |
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1103616 |
การวัดและการประเมินผลทางพลศึกษา |
3(2-2-5) |
1103713 |
ทักษะและการสอนกีฬาไทย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
|
รวม |
22 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1103617 |
หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้พลศึกษา |
3(2-2-5) |
1103501 |
การบริหารและการจัดการพลศึกษาในโรงเรียน |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
3(x-x-x) |
หมวดวิชาเลือกเสรี |
xxxxxxx |
xxxxxxx |
2(x-x-x) |
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Music Education
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (ดนตรีศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Music Education)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(ดนตรีศึกษา)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Music Education)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตทางด้านดนตรีให้มีคุณภาพเป็นเลิศทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย รู้รอบ สอนดี มีจิตวิญญาณความเป็นครู บูรณาการทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ร่วม กับศาสตร์การสอนดนตรีศึกษา รวมถึงอนุรักษ์เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่นและประจำชาติสู่ระดับ สากล
ความสำคัญของหลักสูตร
ในปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลนั้นได้มุ่งเน้นการปฏิรูปการศึกษาตามยุทธศาสตร์ใหม่ของกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) โดยมีกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นกระบวนการประกันคุณภาพภายในที่มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา อีกทั้งยังใช้เป็นแนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัด การเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาให้สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2562 ได้กำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) มีค่านิยมร่วม 2) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู 3) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ 4) เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 5) เป็นผู้มีความ สามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 6) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง รวมถึงได้กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ซึ่งนำมามาบูรณาการจัดการเรียนรู้ร่วมกับศาสตร์แห่งดนตรีศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่สังคม รวมถึงอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ สามารถประยุกต์และพัฒนาดนตรีให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติได้
การสร้างครูด้านดนตรีที่มีคุณภาพนั้น ต้องสอนผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจและมีสุนทรียะในดนตรีได้อย่างแท้จริงตามบทบาทของตน มีทักษะทางด้านดนตรี และการจัดการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความสามารถของตนได้ตลอดเวลา ซึ่งปัจจุบันสังคมของโลกเปิดกว้างด้านอาชีพของดนตรีว่ามีคุณประโยชน์ต่อมนุษย์ อาชีพด้านการดนตรีในปัจจุบันจึงได้รับการยอมรับว่าเป็นอาชีพที่มีเกียรติและสามารถสร้างรายได้ให้แก่บุคคลและกลุ่มธุรกิจ นอกเหนือจากการเป็นเพียงบุคลากรทางการศึกษา เช่น ศิลปิน นักร้อง นักประพันธ์ โปรดิวเซอร์ เป็นต้น โดยในประเทศและต่างประเทศ มีการนำเอาดนตรีมาใช้ในกิจกรรมทางสังคมในด้านความบันเทิง นาฏศิลป์ การละคร ศิลปวัฒนธรรม การแพทย์ การเมือง การทหาร การโฆษณาสินค้า ดังนั้นทำให้ในปัจจุบันจึงมีความต้องการบุคลากรด้านดนตรีเป็นจำนวนมาก เพื่อสร้างงานและตอบสนองต่อความต้องการตามพื้นฐานของสังคมที่มีความเจริญทางด้านการศึกษาและเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติทางดนตรีที่มีคุณภาพ เป็นผู้เรียนรู้ ฉลาดรู้และมีความเข้าใจกระบวนการวิจัยทางด้านดนตรี
2. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมทางดนตรี และบูรณาการทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ร่วมกับศาสตร์แห่งการสอนดนตรี
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีอุดมการณ์และจิตวิญญาณความเป็นครู มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
4. เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประจำท้องถิ่น และประจำชาติสู่ระดับสากล
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชา และแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ (หลักสูตรสี่ปี) 2562 |
หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต) |
หลักสูตรปรับปรุง(หน่วยกิต) |
|
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและ การสื่อสาร |
ไม่น้อยกว่า 30 – |
ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 |
ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 |
|
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ |
– |
3 – 6 |
3 – 6 |
|
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ |
– |
6 – 9 |
6 – 9 |
|
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
– |
6 – 9 |
9 – 12 |
|
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 133 |
ไม่น้อยกว่า 103 |
|
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 34 |
ไม่น้อยกว่า 54 |
40 |
|
2.1.1 วิชาชีพครู |
ไม่น้อยกว่า 22 |
เรียน 40 |
28 |
|
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
ไม่น้อยกว่า 12 |
เรียน 14 |
12 |
|
2.2 กลุ่มวิชาเอก |
ไม่น้อยกว่า 60 |
ไม่น้อยกว่า 79 |
ไม่น้อยกว่า 63 |
|
2.2.1 วิชาบังคับ |
ไม่น้อยกว่า 40 |
เรียน 42 |
43 |
|
2.2.2 วิชาเลือก |
ไม่น้อยกว่า 20 |
ไม่น้อยกว่า 9 |
ไม่น้อยกว่า 20 |
|
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
|
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 169 |
ไม่น้อยกว่า 139 |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) |
1500126 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|
วิชาบังคับ |
1091108 |
ทฤษฎีดนตรีไทย 1 |
3(2-2-5) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครูบังคับ |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1091109 |
ทฤษฎีดนตรีไทย 2 |
3(2-2-5) |
1091110 |
ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 1 |
3(2-2-5) |
|
1091207 |
ประวัติ และวรรณกรรมดนตรีไทย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-วิทย์-คณิต(เลือก) |
4002104 |
การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1092108 |
ทฤษฎีดนตรีตะวันตก 2 |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์(บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1023225 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x) |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x) |
|
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
3(x-x-x) |
|
รวม |
18 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครูบังคับ |
1011301 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1093105 |
การขับร้องประสานเสียง |
3(2-2-5) |
1093502 |
นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาด้านดนตรี |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x) |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
2(x-x-x)) |
|
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
3(x-x-x) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1093903 |
หลักการ และวิธีวิจัยทางดนตรีศึกษา |
3(2-2-5) |
1093104 |
หลักการสอนดนตรีศึกษา |
3(2-2-5) |
|
1093503 |
ดนตรีพื้นบ้านของไทย |
3(2-2-5) |
|
1093106 |
ดนตรีในภูมิภาคเอเชีย |
3(2-2-5) |
|
วิชาเลือก |
XXXXXXXX |
XXXXXXXX |
3(x-x-x) |
รวม |
19 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1012406 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Chinese Language Teaching
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต(การสอนภาษาจีน)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education(Chinese Language Teaching)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(การสอนภาษาจีน)
ชื่อยอภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Chinese Language Teaching)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นบุคลากรทางการศึกษาด้านภาษาจีน มีความรู้คู่คุณธรรม สามารถเป็นผู้นำทางการศึกษา และบูรณาการองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ มุ่งสู่การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง มีจิตสำนึกในความเป็นไทย และรับผิดชอบต่อท้องถิ่นและสังคม มีสติปัญญาความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกาภิวัตน์และสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ด้วยสติปัญญา
ความสำคัญของหลักสูตร
พัฒนาผู้เรียนเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็นครูและบุคลากรทางการศึกษาด้านภาษาจีนก่อนประจำการ รวมทั้งพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำการให้เป็นบุคลากรวิชาชีพในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนในวัยเรียนและนอกวัยเรียนให้มีศักยภาพ โดยมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) 2) เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา 3) เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ใส่ใจสังคม และดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย และต้องครอบคลุมมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู้ 3) ทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ มาบูรณาการสอนร่วมกับเทคโนโลยีและการวิจัย พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพตนเองด้านภาษาจีนได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นบุคคลที่มีอุดมคติ สามารถสร้างประโยชน์ทั้งด้านจิตใจและด้านวัตถุให้แก่ตนเองและสังคม พร้อมทั้งยังสามารถประยุกต์และพัฒนาสังคมให้เกิดการสร้างสรรค์ในระดับท้องถิ่นและประเทศชาติได้
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. บัณฑิตครูภาษาจีนมีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะการถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตครูภาษาจีนที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2. มีความรู้ความสามารถในด้านภาษาจีน รวมทั้งเพิ่มพูนความรู้และสมรรถนะของตนอยู่เสมอ
3. มีคุณลักษณะของพลโลกที่สามารถปรับตัวให้สอดรับกับบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21
4. มีความสามารถในวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผล และเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการและวิชาชีพ
5. มีความสามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย นำสู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่
6. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อวิชาการและวิชาชีพครู สู่การพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
7. มีความรอบรู้ในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาหลักสูตร สามารถประยุกต์องค์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อสร้างงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่การพัฒนาท้องถิ่น
8. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนและบูรณาการความรู้ด้านภาษาจีนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ และรวมสร้างสังคมอย่างมั่งคั่งและยั่งยืน
โครงสร้างของหลักสูตร
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา | เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ฯ (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ.2562 | หลักสูตรเดิม(หน่วยกิต) | หลักสูตรปรับปรุง (หน่วยกิต) | |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร | ไม่น้อยกว่า 30 – | ไม่น้อยกว่า 30 9 – 12 | ไม่น้อยกว่า 30 12 – 15 | |
1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ | – | 6 – 9 | 3 – 6 | |
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ | – | 6 – 9 | 6 – 9 | |
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | – | 6 – 9 | 9 – 12 | |
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน | ไม่น้อยกว่า 94 | ไม่น้อยกว่า 133 | ไม่น้อยกว่า 103 | |
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู | ไม่น้อยกว่า 34 | ไม่น้อยกว่า 54 | 40 | |
2.1.1 วิชาชีพครู | ไม่น้อยกว่า 22 | เรียน 40 | 28 | |
2.1.2 วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | ไม่น้อยกว่า 12 | เรียน 14 | 12 | |
2.2 กลุ่มวิชาเอก | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 79 | ไม่น้อยกว่า 63 | |
2.2.1 วิชาบังคับ | ไม่น้อยกว่า 40 | เรียน 69 | 42 | |
2.2.2 วิชาเลือก | ไม่น้อยกว่า 20 | เรียน 4 | ไม่น้อยกว่า 21 | |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า 6 | ไม่น้อยกว่า 6 | ไม่น้อยกว่า 6 | |
จำนวนหน่วยกิตรวม | ไม่น้อยกว่า 130 | ไม่น้อยกว่า 169 | ไม่น้อยกว่า 139 |
- แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) | 1500126 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ | 3(2-2-5) |
1500120 | ภาษาอังกฤษพื้นฐาน | 3(2-2-5) | |
1500127 | การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) | |
วิชาชีพครู | 1011115 | ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) |
1055109 | จิตวิญญาณความเป็นครู | 3(2-2-5) | |
วิชาบังคับ | 1571131 | ระบบเสียงภาษาจีนกลาง | 3(2-2-5) |
1572111 | อักษรจีน | 3(2-2-5) | |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) | 2500116 | สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง | 3(1-2-3) |
ศึกษาทั่วไป-คณิตวิทย์ฯ (บังคับ) | 4000119 | การคิดและการตัดสินใจ | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1021208 | การพัฒนาหลักสูตร | 3(2-2-5) |
วิชาบังคับ
| 1571120 | ทักษะภาษาจีนพื้นฐาน | 3(2-2-5) |
1571212 | การสนทนาภาษาจีนในชีวิตประจำวัน | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ(บังคับ) | 1521102 | คุณธรรมกับชีวิต | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-ภาษาฯ (บังคับ) | 1500128 | การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมศาสตร์ (บังคับ) | 2500117 | วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1022304 | วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ | 3(2-2-5) |
1043119 | การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาบังคับ | 1571121 | หลักภาษาจีนเบื้องต้น | 3(2-2-5) |
1572204 | การสนทนาภาษาจีนขั้นสูง | 3(2-2-5) | |
รวม | 21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) | 4000117 | เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร | 3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (เลือก) | 4032227 | การออกกำลังกายแบบบูรณาการสำหรับคนยุคใหม่ | 3(2-2-5) |
วิชาชีพครู | 1032702 | นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา | 3(2-2-5) |
1052403 | จิตวิทยาสำหรับครู | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1002803 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1572112 | ทักษะภาษาจีนระดับกลาง | 3(2-2-5) |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู | 1003102 | กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา | 3(2-2-5) |
1043701 | การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ | 3(2-2-5) | |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003806 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1572113 | หลักภาษาจีนระดับกลาง | 3(2-2-5) |
1573611 | การแปลภาษาจีน | 3(2-2-5) | |
1573109 | ไวยากรณ์จีน | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
รวม | 20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู | 1013104 | ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู | 2(1-2-3) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1003807 | การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 | 2(90) |
วิชาบังคับ | 1573108 | ภาษาจีนระดับสูง | 3(2-2-5) |
1572311 | การอ่านภาษาจีน | 3(2-2-5) | |
1573439 | การเขียนภาษาจีน | 3(2-2-5) | |
วิชาเลือก | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) | |
หมวดวิชาเลือกเสรี | xxxxxxx | xxxxxxxxxx | 3(x-x-x) |
รวม | 22 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 | |||
กลุ่มวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 1004805 | ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา | 6(540) |
รวม | 6 หน่วยกิต |
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมีมติอนุมัติในการประชุมครั้งที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2565
ชื่อหลักสูตร
ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา (4 ปี)
ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Dance Education\
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ศึกษา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education (Dance Education)
ชื่อย่อภาษาไทย : ค.บ.(นาฏศิลป์ศึกษา)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Ed.(Dance Education)
ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตร
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูง มีความรู้ความสามารถด้านนาฏศิลป์ทั้งทางภาคทฤษฎีและปฏิบัติอย่างเชี่ยวชาญและลุ่มลึก มีคุณธรรมจริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ หวงแหนและเห็นคุณค่าของภูมิปัญญานำไปสู่การอนุรักษ์ สืบสานและส่งเสริมงานนาฏศิลป์โดยเฉพาะนาฏศิลป์ท้องถิ่น สามารถบูรณาการความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณธรรมและจริยธรรมแห่งวิชาชีพไปสู่การจัดการศึกษาและพัฒนา ครูให้เป็นคนดี มีสติปัญญา มีความสามารถและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข รู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงและสามารถเผชิญปัญหาหรือวิกฤติได้ สร้างประโยชน์กับตนเอง สังคมและประเทศชาติอย่างยั่งยืน
ความสำคัญของหลักสูตร
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ได้พัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา โดยเล็งเห็นความสำคัญของบุคลากรทางการศึกษาด้านนาฏศิลป์ที่มีความรู้ความสามารถมีสมรรถนะที่ครอบคลุมและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่บนพื้นฐานขององค์ความรู้เดิม ซึ่งในปัจจุบันพบว่าครูนาฏศิลป์มีความจำเป็นและขาดแคลน ทั้งยังเป็นที่ต้องการของสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เผยแพร่นาฏศิลป์ให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยมุ่งผลิตครูนาฏศิลป์ที่มีศักยภาพพร้อมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและมีสำนึกดีต่อสังคม ซึ่งสอดคล้องกับสภาพสังคมยุคเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนและสร้างทักษะการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนยังประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพต่อไป
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณสมบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. มีอัตลักษณ์ และสมรรถนะเป็นเลิศเป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต มีทัศนคติที่ดีและถูกต้อง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง เข้มแข็ง มีงานทำ มีอาชีพ เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย มีทักษะ การถ่ายทอดและบ่มเพาะให้ศิษย์แต่ล่ะช่วงวัย รวมถึงบัณฑิตที่เข้าสู่วิชาชีพได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและการพัฒนาครู และยุทธศาสตร์ที่ 3การยกระดับคุณภาพการศึกษาตามพระบรมราโชบายทางการศึกษา
2. มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. มีความรู้ความสามารถในทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการสอนของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและการวิจัยท้องถิ่น โดยมีทักษะด้านทฤษฎีและปฏิบัติทางนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ท้องถิ่นศรีสะเกษและนาฏศิลป์พื้นเมือง นาฏศิลป์นานาชาติ นาฏศิลป์ร่วมสมัย และการแสดงสมัยนิยม
4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถวิเคราะห์และแสวงหาพัฒนาองค์ความรู้การวิจัยทางด้านวิชาชีพ วิจัยท้องถิ่นและวิชาเอกสู่ระดับสากล
5. มีความคิดเชิงบวก รู้บทบาทหน้าที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมชุมชน และสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นเป็นหมู่คณะ พร้อมทั้งสามารถบริหารจัดการในภาวการณ์เป็นผู้นำที่ดี
6. มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร การสร้างละประยุกต์ใช้นวัตกรรม ทางการศึกษารูปแบบใหม่ ๆ มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ศึกษา
โครงสร้างของหลักสูตร หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา ประกอบด้วยสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
หมวดวิชา |
เกณฑ์มาตรฐานสาขาครุศาสตร์ ฯ(หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 |
หลักสูตรใหม่ |
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป |
ไม่น้อยกว่า 30 |
ไม่น้อยกว่า 30 |
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน |
ไม่น้อยกว่า 94 |
ไม่น้อยกว่า 106 |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี |
ไม่น้อยกว่า 6 |
ไม่น้อยกว่า 6 |
จำนวนหน่วยกิตรวม |
ไม่น้อยกว่า 130 |
ไม่น้อยกว่า 142 |
แผนการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป – ภาษาฯ (บังคับ) |
1500119 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศ |
3(2-2-5) |
1500120 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน |
3(2-2-5) |
|
1500127 |
การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
1500128 |
การฟังและการพูดภาษาอังกฤษ |
3(2-2-5) |
|
วิชาชีพครู |
1021208 |
การพัฒนาหลักสูตร |
3(2-2-5) |
วิชาบังคับ |
1111101 |
ศิลปะการแสดงท้องถิ่นศรีสะเกษ |
3(2-2-5) |
1111401 |
พิธีไหว้ครูนาฏศิลป์ไทย |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
2500116 |
สิทธิมนุษยชนและหน้าที่พลเมือง |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ฯ (บังคับ) |
4000119 |
การคิดและการตัดสินใจ |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1011115 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
1055109 |
จิตวิญญาณความเป็นครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1111201 |
การละครไทยและบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ |
3(2-2-5) |
1111301 |
รำพื้นฐานทางนาฏศิลป์ศึกษา |
3(2-2-5) |
|
1111601 |
การออกแบบเครื่องแต่งกายและแต่งหน้า |
3(2-2-5) |
|
รวม |
20 หน่วยกิต |
||
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
ศึกษาทั่วไป-มนุษย์ฯ (บังคับ) |
1521102 |
คุณธรรมกับชีวิต |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป – สังคมฯ (บังคับ) |
2500117 |
วิถีไทยกับวิถีอาเซียนในวิถีสังคมโลก |
3(2-2-5) |
ศึกษาทั่วไป-วิทย์-คณิต (เลือก) |
4002104 |
การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำนักงานในยุคดิจิทัล |
3(2-2-5) |
วิชาชีพครู |
1032702 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา |
3(2-2-5) |
1052403 |
จิตวิทยาสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
วิชาบังคับ |
1112101 |
ระบำมาตรฐาน |
3(2-2-5) |
1112103 |
นาฏศิลป์ไทยสำหรับครู |
3(2-2-5) |
|
รวม |
21 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 |
||||||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
|||
ศึกษาทั่วไป-คณิต-วิทย์ (บังคับ) |
4000117 |
เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสาร |
3(2-2-5) |
|||
วิชาชีพครู |
1043119 |
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|||
1022304 |
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
||||
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1002803 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 1 |
2(90) |
|||
วิชาบังคับ |
1112104 |
การจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ในหลักสูตร ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา |
3(2-2-5) |
|||
1113101 |
ดนตรีและการขับร้องสำหรับครูนาฏศิลป์ |
3(2-2-5) |
||||
1113501 |
นาฏศิลป์นานาชาติ |
3(2-2-5) |
||||
รวม |
20 หน่วยกิต |
|||||
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 |
||||||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
|||
วิชาชีพครู |
1013104 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับครู |
2(1-2-3) |
|||
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003806 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 2 |
2(90) |
|||
วิชาบังคับ |
1113301 |
รำหน้าพาทย์ |
3(2-2-5) |
|||
1113401 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านนาฏศิลป์ศึกษา |
3(2-2-5) |
||||
1113602 |
การสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์สำหรับครู |
3(2-2-5) |
||||
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
|||
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
||||
รวม |
19 หน่วยกิต |
|||||
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาชีพครู |
1003102 |
กฎหมายการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา |
3(2-2-5) |
1043701 |
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ |
3(2-2-5) |
|
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1003807 |
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน 3 |
2(90) |
วิชาบังคับ |
1113901 |
การวิจัยสำหรับครูนาฏศิลป์ |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
รวม |
20 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
1004805 |
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา |
6(540) |
รวม |
6 หน่วยกิต |
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 |
|||
กลุ่มวิชา |
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ค) |
วิชาบังคับ |
1114902 |
การสัมมนาทางนาฏศิลป์ศึกษา |
3(2-2-5) |
วิชาเลือก |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
|
หมวดวิชาเลือกเสรี |
XXXXXXX |
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX |
3(X-X-X) |
รวม |
15 หน่วยกิต |